Logo
thubnail
ป่า
เรียงลำดับ
อื่น ๆ
อื่น ๆ

วงจรขนานและวงจรผสม

Sedthawut
13
ปัญหาที่เพิ่มเข้ามา (10/ 20)
อนุญาตให้คำตอบที่ไม่ถูกต้อง
ซ่อนคำตอบ
public quiz

ปัญหา 1

เลือกประเภท

ในวงจรขนาน กระแสไฟฟ้าจะไหลในวงจรเป็นอย่างไร

  • ไหลเท่ากันตลอดทั้งวงจร
  • แยกไหลตามสาขาของวงจร
  • ไหลผ่านตัวต่านทานเท่ากันทุกตัว
  • ไหลผ่านตัวต้านทานที่มีค่าน้อยสุด

ปัญหา 2

เลือกประเภท

แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานในวงจรขนานจะเป็นอย่างไร

  • แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันทั้งหมด
  • แรงดันไฟฟ้ารวมในวงจรขนานจะมากกว่าแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว
  • แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานในวงจรขนานจะแปรผันตรงกับค่าความต้านทาน
  • ตัวต้านทานที่มีค่าโอห์มสูงสุดในวงจรขนานจะได้แรงดันไฟฟ้ามากที่สุด

ปัญหา 3

เลือกประเภท

ข้อใดคือ ค่ากระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน

  • IT = I1+I2+I3
  • IT = I1*I2*I3
  • IT = I1-I2-I3
  • IT = I1/I2/I3

ปัญหา 4

เลือกประเภท

หน่วยใดต่อไปนี้ใช้สำหรับวัดกำลังไฟฟ้า?

  • จูล (Joule)
  • วัตต์ (Watt)
  • โวลต์-แอมแปร์ (Volt-Ampere)
  • แอมแปร์-ชั่วโมง (Ampere-hour)

ปัญหา 5

OX

ในวงจรขนาน กระแสไฟฟ้ารวมที่ออกจากแหล่งจ่ายจะแบ่งไหลไปยังแต่ละสาขา

ปัญหา 6

OX

ในวงจรขนาน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมแต่ละสาขาจะมีค่าเท่ากันหรือไม่?

ปัญหา 7

เลือกประเภท

การต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมส่งผลต่อค่าความต้านทานรวมอย่างไร?

  • ทำให้ความต้านทานรวมลดลง
  • ทำให้ความต้านทานรวมเพิ่มขึ้น
  • ไม่ส่งผลต่อความต้านทานรวม
  • ทำให้ความต้านทานรวมเป็นศูนย์

ปัญหา 8

เลือกประเภท

วงจรผสมคืออะไร

  • วงจรที่มีตัวต้านทานตัวเดียว
  • วงจรที่ต่อขนานอย่างเดียว
  • วงจรที่รวมระหว่างวงจรอนุกรมและวงจรขนาน
  • วงจรที่ต่อโหลดหลายแบบแบบเดียวกัน

ปัญหา 9

เลือกประเภท

จุดประสงค์ของการต่อวงจรผสมคืออะไร

  • ลดแรงดันไฟฟ้า
  • เพิ่มความต้านทาน
  • ควบคุมแรงดันและกระแสในบางจุด
  • ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต

ปัญหา 10

OX

การแก้ไขปัญหา (Troubleshooting) ในวงจรผสมมักจะง่ายกว่าในวงจรอนุกรมเสมอ

การแชร์ Google Classroom