Logo
แผนที่ที่สร้างขึ้นเฉพาะสำหรับ Pro Plan ควิซ
ควิซถูกล็อกเนื่องจาก แผน PRO หมดอายุ
thubnail
สนามสายรุ้ง
เรียงลำดับ
วิทยาศาสตร์

Digital think 3/4

นายปวรุตม์ จัน
33
0
ปัญหาที่เพิ่มเข้ามา (20/ 20)
อนุญาตให้คำตอบที่ไม่ถูกต้อง
ซ่อนคำตอบ
public quiz

ปัญหา 1

เลือกประเภท

ตัวตนดิจิทัลคืออะไร?

  • ภาพลักษณ์บนโลกดิจิทัล
  • ข้อมูลส่วนบุคคล
  • ชื่อที่แท้จริง
  • บัญชีธนาคาร

ปัญหา 2

เลือกประเภท

การสร้างตัวตนดิจิทัลที่ปลอดภัยควรทำอย่างไร?

  • ใส่ข้อมูลจริงทั้งหมด
  • ไม่ใส่ข้อมูลจริงเลย
  • ใช้ข้อมูลจริงแต่ระวังไม่ให้มากเกินไป
  • เผยแพร่รหัสผ่าน

ปัญหา 3

เลือกประเภท

ข้อมูลใดที่เป็นส่วนของตัวตนดิจิทัลที่เกิดจากกิจกรรมบนโลกดิจิทัล?

  • เลขประจำตัวประชาชน
  • รูปภาพที่โพสต์
  • ชื่อ นามสกุล
  • วันเดือนปีเกิด

ปัญหา 4

เลือกประเภท

อะไรคือข้อเสียของการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลมากเกินไป?

  • เพิ่มความน่าเชื่อถือ
  • ปกป้องความปลอดภัย
  • เสี่ยงต่อการถูกละเมิดความเป็นส่วนตัว
  • ได้รับคำชม

ปัญหา 5

เลือกประเภท

สิ่งใดไม่ควรทำเมื่อต้องการสร้างตัวตนดิจิทัลที่ปลอดภัย?

  • โพสต์รูปภาพส่วนตัว
  • ใช้รหัสผ่านที่คาดเดายาก
  • ตรวจสอบความปลอดภัยของโปรไฟล์
  • แชร์ข้อมูลส่วนตัวกับคนแปลกหน้า

ปัญหา 6

เลือกประเภท

พฤติกรรมใดต่อไปนี้เป็นการสะกดรอยทางไซเบอร์?

  • การโพสต์ความคิดเห็นเชิงบวก
  • การติดตามและส่งข้อความซ้ำๆ
  • การบล็อกผู้ใช้อื่น
  • การเปลี่ยนรหัสผ่านบ่อยๆ

ปัญหา 7

เลือกประเภท

ความแตกต่างหลักระหว่างการสะกดรอยทางไซเบอร์และการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์คืออะไร?

  • การสะกดรอยเน้นการติดตาม ส่วนการกลั่นแกล้งเน้นการข่มเหง
  • ทั้งสองอย่างเหมือนกัน
  • การสะกดรอยทำให้ผู้ที่ถูกแกล้งรู้สึกดี
  • การกลั่นแกล้งมักเกิดจากคนแปลกหน้าเท่านั้น

ปัญหา 8

เลือกประเภท

ในกรณีที่ปัญหาการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์รุนแรง ควรทำอย่างไร?

  • โพสต์ในโซเชียลมีเดียเพื่อหาความช่วยเหลือ
  • เก็บบันทึกหลักฐานและแจ้งเจ้าหน้าที่
  • ไม่ทำอะไร
  • ตอบโต้ด้วยการกลั่นแกล้งกลับ

ปัญหา 9

เลือกประเภท

การก่อกวนทางไซเบอร์ (Trolling) แตกต่างจากการสะกดรอยอย่างไร?

  • การก่อกวนมักทำเพื่อความสนุกสนาน
  • การสะกดรอยเกี่ยวกับการข่มเหง
  • การก่อกวนต้องการความสนใจจากผู้ถูกก่อกวน
  • ทั้งสองอย่างเหมือนกัน

ปัญหา 10

เลือกประเภท

การกระทำใดที่ไม่ควรทำเมื่อถูกกลั่นแกล้งทางไซเบอร์?

  • ตอบโต้ด้วยความโกรธ
  • บล็อกผู้กระทำ
  • ปรึกษาบุคคลรอบตัว
  • เก็บหลักฐาน

ปัญหา 11

เลือกประเภท

รอยเท้าดิจิทัลหมายถึงอะไร?

  • ร่องรอยที่เกิดจากการใช้งานบนโลกดิจิทัล
  • การเดินทางในโลกจริง
  • การซื้อของออนไลน์
  • การท่องเที่ยว

ปัญหา 12

เลือกประเภท

การทิ้งรอยเท้าดิจิทัลจำนวนมากอาจทำให้เกิดอะไร?

  • การติดตามจากโจรหรือแฮกเกอร์
  • การเพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ต
  • การลดค่าใช้จ่าย
  • การเพิ่มความปลอดภัย

ปัญหา 13

เลือกประเภท

รอยเท้าดิจิทัลแบบ Passive คืออะไร?

  • รอยเท้าที่ไม่ตั้งใจทิ้งร่องรอยไว้
  • รอยเท้าที่ตั้งใจทิ้งร่องรอยไว้
  • การแชร์ Location
  • การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา

ปัญหา 14

เลือกประเภท

รอยเท้าดิจิทัลสามารถลบได้หรือไม่?

  • ไม่สามารถลบได้
  • สามารถลบได้
  • ขึ้นอยู่กับการตั้งค่า
  • ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษ

ปัญหา 15

เลือกประเภท

การใช้งานใดที่ไม่ทิ้งรอยเท้าดิจิทัล?

  • การเดินเล่น
  • การค้นหาออนไลน์
  • การพูดคุยออนไลน์
  • การใช้สื่อสังคมออนไลน์

ปัญหา 16

เลือกประเภท

ข่าวปลอมคืออะไร?

  • ข้อมูลที่ถูกต้อง
  • ข้อมูลที่เป็นเท็จ
  • ข้อมูลที่มีเพียงความจริง
  • ข้อมูลที่ไม่มีอคติ

ปัญหา 17

เลือกประเภท

ข้อใดเป็นประเภทของข่าวปลอม?

  • ข่าวตามจริง
  • Clickbait
  • ข่าวสาระ
  • ข่าวบันเทิง

ปัญหา 18

เลือกประเภท

การทำความเข้าใจเนื้อหา (Understand) ในการตรวจสอบข่าวปลอมเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง?

  • คิดและวิเคราะห์
  • เชื่อทันที
  • แชร์ข้อมูล
  • หลีกเลี่ยงการอ่าน

ปัญหา 19

เลือกประเภท

ในโลกดิจิทัล เราควรทำอย่างไรเมื่อพบข่าวที่น่าสงสัย?

  • แชร์ทันที
  • ตรวจสอบข้อมูล
  • ไม่สนใจ
  • เชื่อทุกอย่าง

ปัญหา 20

เลือกประเภท

เหตุใดการมีทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลจึงสำคัญ?

  • เพื่อให้สามารถแชร์ข่าวได้เร็ว
  • เพื่อระบุและหลีกเลี่ยงข่าวปลอม
  • เพื่อทำให้การใช้สื่อสนุกขึ้น
  • เพื่อสนับสนุนข่าวทุกชนิด
การแชร์ Google Classroom