Logo
thubnail
ห้องหนีภัยในโรงเรียน
เล่นอิสระ
ภาษาไทย

โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

ครูขวัญจิ
113
0
ปัญหาที่เพิ่มเข้ามา (10/ 20)
อนุญาตให้คำตอบที่ไม่ถูกต้อง
ซ่อนคำตอบ
public quiz

ปัญหา 1

เลือกประเภท

โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ มีความหมายตรงกับข้อใด

  • กิจที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
  • โคลงที่ไม่ควรประพฤติ
  • กิจที่ผู้ประพฤติพึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
  • กิจที่ควรประพฤติ

ปัญหา 2

เลือกประเภท

คำประพันธ์ในข้อใดกล่าวถึงด้านวจีกรรม

  • ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
  • แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง
  • ผลจักเพิ่มพูนใน อนาคต กาลแฮ
  • ไป่หมิ่นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด

ปัญหา 3

เลือกประเภท

สุภาษิตในข้อใดที่จะทำให้ได้รับการอภัย

  • เพราะคิดเสียก่อนพูด
  • เพราะขอโทษบรรดาที่ได้ผิด
  • เพราะไม่พูดร้ายต่อใครเลย
  • เพราะอดพูดในเวลาโกรธ

ปัญหา 4

เลือกประเภท

คำประพันธ์ในข้อใดตรงกับสำนวนว่า “อย่าตีตนไปก่อนไข้”

  • อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย คำคน ลือแฮ
  • สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา
  • ยังบ่ด่วนยักย้าย ตื่นเต้นก่อนกาล
  • บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื่องร้าย

ปัญหา 5

เลือกประเภท

สุภาษิตนฤทุมนาการเป็นการแนะนำเกราะป้องกันผู้ประพฤติในด้านใด

  • มโนกรรม วจีกรรม
  • วจีกรรม กายกรรม
  • มโนกรรม วจีกรรม กายกรรม
  • อโหสิกรรม วจีกรรม กายกรรม

ปัญหา 6

เลือกประเภท

ข้อใดใช้คำเปรียบเทียบ

  • ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ
  • คำพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
  • ควรจะระงับดับสู้ สงบบ้างยังดี
  • เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า

ปัญหา 7

เลือกประเภท

ข้อใดสอนให้คนใช้วิจารณญาณในการฟัง

  • เหินห่างโมหะร้อน ริษยา สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย
  • พาทีมีสติรั้ง รอคิด รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
  • ยินคดีมีเรื่องน้อย ใหญ่ไฉน ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน
  • สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ปางเมื่อยังโกรธา ขุ่นแค้น

ปัญหา 8

เลือกประเภท

คำประพันธ์ข้างต้นตรงกับสำนวนการพูดในข้อใด

  • พูดจนลิงหลับ
  • พายเรือในอ่าง
  • พอแย้มปากก็เห็นไรฟัน
  • พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง

ปัญหา 9

เลือกประเภท

ข้อคิดใดสอดคล้องกับคำประพันธ์ข้างต้น

  • อย่าเชื่อโดยคาดคะเน
  • อย่าเชื่อโดยเหตุนึกเอา
  • อย่าเชื่อโดยตื่นว่าได้ยินอย่างนั้นอย่างนี้
  • อย่าเชื่อว่าผู้พูดเป็นผู้ที่ควรเชื่อถือ

ปัญหา 10

เลือกประเภท

บทประพันธ์ข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด

  • ควรปฏิบัติให้ได้อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง
  • ควรปฏิบัติบ้างดีกว่าไม่ปฏิบัติเลย
  • ควรปฏิบัติให้ครบ ๑๐ ประการ
  • ควรปฏิบัติให้ได้มากที่สุด
การแชร์ Google Classroom